ผัสสะ คือ What Is Phassa Contact
by
“ผัสสะ” คือ? ||| What is phassa (contact)
Date: 2014/08/03
ก็ข้อที่เรากล่าวดังนี้ว่า พึงทราบหมวดผัสสะ ๖ นั่น เราอาศัย อะไรกล่าวแล้ว คือ บุคคลอาศัยจักษุและรูปเกิดจักษุวิญญาณ ความประจวบของธรรมทั้ง ๓ เป็นผัสสะ อาศัย โสตะและเสียงเกิดโสตวิญญาณ ความประจวบของธรรมทั้ง ๓ เป็นผัสสะ อาศัยฆานะและกลิ่น เกิดฆานวิญญาณ ความประจวบของธรรมทั้ง ๓ เป็นผัสสะ อาศัยชิวหาและรสเกิดชิวหาวิญญาณ ความประจวบของธรรมทั้ง ๓ เป็นผัสสะ อาศัยกายและโผฏฐัพพะเกิดกายวิญญาณ ความประจวบ ของธรรมทั้ง ๓ เป็นผัสสะ อาศัยมโนและธรรมารมณ์เกิดมโนวิญญาณ ความ ประจวบของธรรม ทั้ง ๓ เป็นผัสสะ ข้อที่เรากล่าวดังนี้ว่า พึงทราบหมวดผัสสะ ๖นั่น เราอาศัยผัสสะดังนี้ กล่าวแล้ว นี้ธรรมหมวดหก หมวดที่ ๔ ฯ
พระไตรปิฎก ฉบับหลวง (ภาษาไทย) เล่มที่ ๑๔ สุตตันตปิฎก มัชฌิมนิกาย อุปริปัณณาสก์ หน้าที่ ๓๘๗ ข้อที่ ๘๑๕ - ๘๑๗
ฉ ผสฺสกายา เวทิตพฺพาติ อิติ โข ปเนต วุตฺต ฯ กิฺเจต ปฏิจฺจ สุตฺต ฯ จกฺขฺุจ ปฏิจฺจ รูเป จ อุปฺปชฺชติ จกฺขุวิฺาณ ติณฺณ สงฺคติ ผสฺโส ฯ โสตฺจ ปฏิจฺจ สทฺเท จ อุปฺปชฺชติ โสตวิฺาณ ติณฺณ สงฺคติ ผสฺโส ฯ ฆานฺจ ปฏิจฺจ คนฺเธ จ อุปฺปชฺชติ ฆานวิฺาณ ติณฺณ สงฺคติ ผสฺโส ฯ ชิวฺหฺจ ปฏิจฺจ รเส จ อุปฺปชฺชติ ชิวฺหาวิฺาณ ติณฺณ สงฺคติ ผสฺโส ฯ กายฺจ ปฏิจฺจ โผฏฺพฺเพ จ อุปฺปชฺชติ กายวิฺาณ ติณฺณ สงฺคติ ผสฺโส ฯ มนฺจ ปฏิจฺจ ธมฺเม จ อุปฺปชฺชติ มโนวิฺาณ ติณฺณ สงฺคติ ผสฺโส ฯ ฉ ผสฺสกายา เวทิตพฺพาติ อิติ ยนฺต วุตฺต อิทเมต ปฏิจฺจ วุตฺต ฯ อิท จตุตฺถ ฉกฺก ฯ
พระไตรปิฎก ฉบับสยามรัฐ (ภาษาบาลี) เล่มที่ ๑๔ สุตฺตนฺตปิฏเก มชฺฌิมนิกายสฺส อุปริปณฺณาสกํ หน้าที่ ๕๑๐ ข้อที่ ๘๑๕
Cha phassakāyā veditabbā’ti – iti kho panetaṃ vuttaṃ. Kiñcetaṃ paṭicca vuttaṃ? Cakkhuñca paṭicca rūpe ca uppajjati cakkhuviññāṇaṃ, tiṇṇaṃ saṅgati phasso; sotañca paṭicca sadde ca uppajjati sotaviññāṇaṃ, tiṇṇaṃ saṅgati phasso; ghānañca paṭicca gandhe ca uppajjati ghānaviññāṇaṃ, tiṇṇaṃ saṅgati phasso; jivhañca paṭicca rase ca uppajjati jivhāviññāṇaṃ, tiṇṇaṃ saṅgati phasso; kāyañca paṭicca phoṭṭhabbe ca uppajjati kāyaviññāṇaṃ, tiṇṇaṃ saṅgati phasso; manañca paṭicca dhamme ca uppajjati manoviññāṇaṃ, tiṇṇaṃ saṅgati phasso. ‘Cha phassakāyā veditabbā’ti – iti yaṃ taṃ vuttaṃ, idametaṃ paṭicca vuttaṃ. Idaṃ catutthaṃ chakkaṃ.
Suttapiṭaka Majjhimanikāye - Uparipaṇṇāsapāḷi หน้าที่ ๑๖๕ ข้อที่ ๔๒๒
tags:The six classes of contact should be known.’ Thus was it said. In reference to what was it said? Dependent on the eye & forms there arises consciousness at the eye. The meeting of the three is contact. Dependent on the ear & sounds there arises consciousness at the ear. The meeting of the three is contact. Dependent on the nose & aromas there arises consciousness at the nose. The meeting of the three is contact. Dependent on the tongue & flavors there arises consciousness at the tongue. The meeting of the three is contact. Dependent on the body & tactile sensations there arises consciousness at the body. The meeting of the three is contact. Dependent on the intellect & ideas there arises consciousness at the intellect. The meeting of the three is contact. ‘The six classes of contact should be known.’ Thus was it said. And in reference to this was it said. This is the fourth sextet.